แม่แบบไม้ดัดไทย

แม่แบบไม้ดัดไทย

    พระบาทบรมนารถเจ้า
ทรงแบบไม้ดัดงาม
ขบวนดัดคัดจัดตาม
โปรดแบบบรรยายถ้อย
กรมหลวงพิทักษ์สร้อย
เขนกับญี่ปุ่นที
หกเหียนพับดัดดี
สิบเอ็ดกิ่งพริ้งพร้อม
พระด้วงรองบาทไท้
ฝึกหัดสันทัดปวง
แสดงบอกบ่หันหวง
จึงประจักษ์เหตุแท้
ไม้ขบวนวาดเอี้ยว
ตอต่ำตัดเรือนเจียน
ทีกิ่งชอบใช้เนียน
ทรงพุ่มชิดเชิดช้อย
ฉากแบบโคนทอดน้อย
ที่คดคบขดตาม
ตอย่อกิ่งต่อสาม
ต้นชดเค้ากิ่งหย้อม
หกเหียนเห็ดดัดคู้
ตอเพล่เร่เรือนรับ
ทียอดทอดทวนทับ
ดูดุจหมัดมวยงิ้ว
ไม้เขนเบนกิ่งท้าย
โคนปุ่มภูต้นตรง
ทียอดทอดหวนหง
ดุจมฤคเหลียวชะเง้อ
ป่าข้อมโคนปุ่มต้น
คบแยกสามกิ่งจง
จังหวะระยะวง
จัดช่องไฟให้เท่า
ไม้ญี่ปุ่นรวบทั้ง
ตลกรากเอนชายมอ
ท่วงทีที่ขันพอ
คงกิ่งจังหวะได้
เก้าชนิดนับชื่ออ้าง
โดยบุราณเรียกตาม
คิดดัดแต่งตัดงาม
พอประจักษ์นามน้อย
ขุนท่องสื่อเก่าแจ้ง
ลิขิตโคลงไม้ดัด
เคยฝึกเล่นโดยจัด
เพื่อจะดัดคงไว้
ผู้มีวิริยะพร้อม
เย็นกระมลเนาเนียร
เล่นดัดตัดแต่งเจียน
โดยประณีตนับแท้
จอมสยาม
เรียบร้อย
กรุงเก่า มาแฮ
ถูกแล้วเกณฑ์หา
มนตรี ทรงเฮย
ป่าข้อม
ถวายเทียบ แบบแฮ
แยกใช้กิ่งสาม
กรมหลวง
ปลูกแก้
สอนหัด ชินเฮย
ท่านอ้างออกองค์
วนเวียน ต้นนา
เรียบร้อย
สนิทช่อง ไฟแฮ
ช่องชั้นจังหวะวาง
หนึ่งงาม
หักค้อม
สมแบบ เดิมนอ
อย่าซ้ำเสียคม
คัดทับ
ลอดพลิ้ว
ทบกิ่ง กลแฮ
ผงาดง้ำผงกหงาย
ทวนลง
เกร่อเก้อ
เห็นขด คู้แฮ
ชะโงกเงื้อมมาหลัง
ตามตรง
จัดเก้า
เวียนรอบ กลมแฮ
ส่วนต้นตัดเรือน
กำมะลอ
มากใช้
พูมตลก
ช่องพร้อมเรือนเสมอ
ออกนาม ไม้เฮย
ต่อถ้อย
คงเงื่อน นั้นมา
เนื่องไม้มีเดิม
จำถนัด
แต่งไว้
จวบพระ ด้วงนา
ดุจถ้อยกลอนแถง
เพลินเพียร
เนิ่นแก้
จัดพุ่ม เรือนเฮย
ท่านนั้นจิตรเสมอ

จากโคลงตำราไม้ดัดของหลวงมงคลรัตน์ จะสามารถแบ่งแยกประเภทไม้ดัดเป็น 2 ประเภท ชนิด ดังนี้

ประเภทแรก เป็นไม้ที่ดูแล้วไม่เหมือนกับต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติ ทั้งนี้เนื่องจากเป็นไม้ที่ดัดให้เป็นไปตามโครงศิลปะของไทย ดังได้กล่าวไว้ตามโคลง มี 7 ชนิด คือ

ประเภทที่สอง เป็นไม้ที่ดัดให้ดูเหมือนกับไม้ใหญ่ที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติ มี 2 ชนิดคือ

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง